วันศุกร์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2556

สรุปการทำงาน ส.1 - ส.3


http://issuu.com/punchychucream/docs/pantagarn-cru-dandelion-brand-build




        ตำแหน่งท็อปส์ชูของรองเท้า และมีอีกเชือกกลุ่บัลเล่ต์ คือรองเท้าส้นเตี้ยหรือรองเท้าดอลลี่ ได้มีชื่อเรียกมาจากรองเท้าบัลเล่ต์ของผู้หญิงคนหนึ่งที่มีส้นเท้าบางและอ่อนนุ่มมาก มันเป็นการปรากฎตัวของรองเท้าที่มีสไตล์ โดยมีรูปแบบโดยการผูกริบบิ้นในส่วนของเล็กๆที่ผูกติดหน้ารองเท้า ซึ่งสามารถช่วยปรับให้การสวมใส่กระชับเท้ามากขึ้น
        สาระสำคัญของบัลเล่ต์ได้เริ่มต้นขึ้นอย่างน้อย ตั้งแต่ ศตวรรษที่16 ซึ่งมาจากรองเท้า pompes ของสุภาพบุรุษในยุคกลางของ แฟลตบัลเล่ต์ได้เป็นที่นิยมของทั้งผู้ชายและผู้หญิง ได้เอาออกมาโชว์ที่งานแฟชั่นในศตวรรษที่17 และ19 เมื่อรองเท้าส้นสูงได้เข้ามาในกลุ่มแฟชั่นโดยที่ แคเธอรีนเดอเมติขอให้รองเท้าของเธอสูงขึ้นอีกสองนิ้วที่รองเท้าแต่งงานของเธอการเพิ่มส้นเท้าได้กระจายออกไปตามหมู่แฟชั่นอย่างรวดเร็วหลังจากที่ Marie Antoinette นำไปใส่เดินที่ กิโยติน โดยนำไปใส่คู่กับรองเท้าทำงาน

การศึกษาข้อมูลของรองเท้าหนัง
ข้อมูลในการทำรองเท้า
ช่างในการทำรองเท้านั้นมี 3 ประเภท
1.ช่างออกแบบรองเท้า
2.ช่างตัดเย็บรองเท้า
3.ช่างประกอบพื้นรองเท้า

วิธีการเขียนแบบ

        วิธีเขียนแบบโดยการวาดเส้นกึ่งกลางหุ่น ฝนขอบรองเท้าไปรอบๆของหุ่นเพื่อที่จะรู้ตำแหน่งของขอบรองเท้า จากนั้นนำหุ่นหันเข้ามาด้านหน้าเรา แล้วใช้สายวัดทาบลงไปแล้วขีดเส้นตรงด้วยดินสอ แล้วจากนั้นก็ใช้สายวัดวัดด้านข้างแล้วขี้เส้น ก็จะได้แบบรองเท้า ballet flats leather


การทำรองเท้า

        คิดแบบจากนั้นก็นำไปขึ้นหุ่นโดยใช้กระดาษกาวย้นในการทำจากนั้นก็วาดแบบแล้วตัดออกมาเป็นแพ็ตเทิร์นจากนั้นนำมาใส่ในกระดาษแข็งแล้วนำหนังมาตัดเป็นรูปแบบตามที่เราได้ จากนั้นเอาแบบมาเย็บเข้ารูปด้วยเครื่องจักรเย็บผ้า จากนั้นก็ทำการดึงหนังรองเท้าให้เป็นรูปทรงของรองเท้าซึ้งต้องใช้หุ่นรองเท้าในการดึงแล้วตอกตะปูลงไปเพื่อดึงหนังซึ้งต้องใช้แรงเยอะมากจึงเป็นหน้าที่ของช่างเย็บรองเท้าจากนั้นทากาว แล้วทำแผ่นยางรองเท้าโดยใช้แบบพื้นรองเท้ามาวางทาบแล้วเขียนแบบ จากนั้นเสริมแผ่นเหล็กเพื่อเพิ่มความแข็งแรงให้กับพื้นรองเท้าติดแผ่นยางเสริมขึ้นมาอีกชั้นติดที่ยางที่เราตัดมาตอนแรก แล้วนำพื้นทั้งหมดมาติดที่ตัวรองเท้า สุดท้ายดึงรองเท้าออกจากหุ้นต้นแบบ แต่หลังจากนั้นก็มาทำพื้นรองเท้า ติดแผ่นรองพื้นรองเท้าเพื่อให้ผู้ใส่ใส่สบายขึ้นแล้วนำพื้นรองเท้าไปวางก็เป็นอันเสร็จ



การดำเนินงานทางการออกแบบ (Design Procedures/Route)

1.คิด(Think/Imagin/Investigation)
2.เขียน(Write/Brief)
3.สร้างสรรค์(Create/Make/Build/Solutions)
4.สรุป(Conclusion/End การProducts/Evaluation/Implementation)




สรุปงานโดยการทำ moodbord เพื่อนำเสนอในงานออกแบบรองเท้าหนังของ DANDELION




วันพุธที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2556

รายงานรองเท้าแบรน DANDELION

ballet flats leather


  ตำแหน่งท็อปส์ชูของรองเท้า และมีอีกเชือกกลุ่บัลเล่ต์ คือรองเท้าส้นเตี้ยหรือรองเท้าดอลลี่ ได้มีชื่อเรียกมาจากรองเท้าบัลเล่ต์ของผู้หญิงคนหนึ่งที่มีส้นเท้าบางและอ่อนนุ่มมาก มันเป็นการปรากฎตัวของรองเท้าที่มีสไตล์ โดยมีรูปแบบโดยการผูกริบบิ้นในส่วนของเล็กๆที่ผูกติดหน้ารองเท้า ซึ่งสามารถช่วยปรับให้การสวมใส่กระชับเท้ามากขึ้น
  สาระสำคัญของบัลเล่ต์ได้เริ่มต้นขึ้นอย่างน้อย ตั้งแต่ ศตวรรษที่16 ซึ่งมาจากรองเท้า pompes ของสุภาพบุรุษในยุคกลางของ แฟลตบัลเล่ต์ได้เป็นที่นิยมของทั้งผู้ชายและผู้หญิง ได้เอาออกมาโชว์ที่งานแฟชั่นในศตวรรษที่17 และ19 เมื่อรองเท้าส้นสูงได้เข้ามาในกลุ่มแฟชั่นโดยที่ แคเธอรีนเดอเมติขอให้รองเท้าของเธอสูงขึ้นอีกสองนิ้วที่รองเท้าแต่งงานของเธอการเพิ่มส้นเท้าได้กระจายออกไปตามหมู่แฟชั่นอย่างรวดเร็วหลังจากที่ Marie Antoinette นำไปใส่เดินที่ กิโยติน โดยนำไปใส่คู่กับรองเท้าทำงาน

การศึกษาข้อมูลของรองเท้าหนัง
ข้อมูลในการทำรองเท้า
ช่างในการทำรองเท้านั้นมี 3 ประเภท
1.ช่างออกแบบรองเท้า
2.ช่างตัดเย็บรองเท้า
3.ช่างประกอบพื้นรองเท้า

วิธีการเขียนแบบ

วิธีเขียนแบบโดยการวาดเส้นกึ่งกลางหุ่น ฝนขอบรองเท้าไปรอบๆของหุ่นเพื่อที่จะรู้ตำแหน่งของขอบรองเท้า จากนั้นนำหุ่นหันเข้ามาด้านหน้าเรา แล้วใช้สายวัดทาบลงไปแล้วขีดเส้นตรงด้วยดินสอ แล้วจากนั้นก็ใช้สายวัดวัดด้านข้างแล้วขี้เส้น ก็จะได้แบบรองเท้า ballet flats leather


การทำรองเท้า

คิดแบบจากนั้นก็นำไปขึ้นหุ่นโดยใช้กระดาษกาวย้นในการทำจากนั้นก็วาดแบบแล้วตัดออกมาเป็นแพ็ตเทิร์นจากนั้นนำมาใส่ในกระดาษแข็งแล้วนำหนังมาตัดเป็นรูปแบบตามที่เราได้ จากนั้นเอาแบบมาเย็บเข้ารูปด้วยเครื่องจักรเย็บผ้า จากนั้นก็ทำการดึงหนังรองเท้าให้เป็นรูปทรงของรองเท้าซึ้งต้องใช้หุ่นรองเท้าในการดึงแล้วตอกตะปูลงไปเพื่อดึงหนังซึ้งต้องใช้แรงเยอะมากจึงเป็นหน้าที่ของช่างเย็บรองเท้าจากนั้นทากาว แล้วทำแผ่นยางรองเท้าโดยใช้แบบพื้นรองเท้ามาวางทาบแล้วเขียนแบบ จากนั้นเสริมแผ่นเหล็กเพื่อเพิ่มความแข็งแรงให้กับพื้นรองเท้าติดแผ่นยางเสริมขึ้นมาอีกชั้นติดที่ยางที่เราตัดมาตอนแรก แล้วนำพื้นทั้งหมดมาติดที่ตัวรองเท้า สุดท้ายดึงรองเท้าออกจากหุ้นต้นแบบ แต่หลังจากนั้นก็มาทำพื้นรองเท้า ติดแผ่นรองพื้นรองเท้าเพื่อให้ผู้ใส่ใส่สบายขึ้นแล้วนำพื้นรองเท้าไปวางก็เป็นอันเสร็จ


ดำเนินงานทางการออกแบบ (Design Procedures/Route)


1.คิด(Think/Imagin/Investigation)
2.เขียน(Write/Brief)
3.สร้างสรรค์(Create/Make/Build/Solutions)
4.สรุป(Conclusion/End การProducts/Evaluation/Implementation)




สรุปรายงานใน moodbord







วันอังคารที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2556

รายงานโครงงานกลุ่ม

จากที่ได้ไปหาข้อมูลเพื่่อทำงานออกแบบ วันนี้เป็นวันสรุปผลงานที่ได้ทำมาทั้งหมด
กลุ่มที่ 2 รองเท้าหนังจระเข้เผือก

          ได้เริ่มศึกษาเริ่มตั้งแต่ ส.1 คือการศึกษาข้อมูลของรองเท้าหนัง ว่ารองเท้าที่ทำจากหนังนั้นแบ่งออกเป็นกี่ประเภทและความต้องการของผู้ประกอบการนั้นต้องการทำให้เรานั้นออกแบบรองเท้าซึ้งเราได้
แบ่งการออกแบบเป็นรองเท้าชาย หญิง เด็ก 


ภาพที่ 1 :  ภาพบอร์กการศึกษางานรองเท้าหนังทั้งหมด
ที่่มา: นางสาว พันธกานต์ ตั้งวศินธรรม,2556

            หนังจากศึกษางานเรียบร้อยแล้วพวกเราก็ได้ออกแบบร่างงานเพื่อทำรองเท้าของแต่ละประเภทว่ามีรูปอย่างไร
    

ภาพที่ 2 :  ภาพแบบร่างของรองเท้า
ที่่มา : นางสาวสิริมณี แก้วลาน ,2556

           ภาพนี้คือแบบร่างรองเท้าหนังที่เป็นของผู้ใหญ่ซึ่งการเขียนร่างนั้นต้องบอกขนาดและรูปทรงของรองเท้าได้อย่างชัดเจนเพื่อทำการผลิต


ภาพที่ 3 :  ภาพแบบร่างของรองเท้า
ที่่มา : นางสาว ภคพร พันสีดา ,2556

   
           ภาพนี้คือแบบร่างรองเท้าหนังที่เป็นของเด็กซึ่งการเขียนร่างนั้นต้องบอกขนาดและรูปทรงของรองเท้าได้อย่างชัดเจนเพื่อทำการผลิต

           เมื่อออกแบบรูปร่างแล้วจากนั้นก็ต้องมีรูปแบบเพื่อการผลิตรูปแบบนั้นต้องแสดงถึงส่วนต่างๆที่จะประกอบรองเท้าให้ผู้ผลิตนั้นรูปว่ามีสิ้นส่วนไหนบ้างและต้องเย็บติดกับชิ้นส่วนใด

ภาพที่ 4 :  ภาพรูปแบบของรองเท้า
ที่่มา : นางสาว พันธกานต์ ตั้งศินธรรม ,2556

           เมื่อมีรูปแบบแล้วเราก็สามารถทำรองเท้าตัวอย่างหรือโมเดลให้กับผู้ผลิตได้ดูเป็นตัวอย่างของงานออกแบบของรองเท้าแต่ละประเภท จากนั้น ส3 ก็ทำการสรุปงานที่ได้ทำมาทั้งหมด


ภาพที่ 5 :  บอร์ดแสดงผลงานรองเท้าหนังที่ได้ออกแบบของแต่ละประเภท
ที่่มา : นางสาว พันธกานต์ ตั้งศินธรรม ,2556


ภาพที่ 6 :  บอร์ดแสดงผลงานรองเท้าหนังที่ได้ออกแบบของแต่ละประเภท
ที่่มา : นางสาว ภคพร พันสีดา ,2556



ภาพที่ 7 :  บอร์ดแสดงผลงานรองเท้าหนังที่ได้ออกแบบของแต่ละประเภท
ที่่มา : นางสาว กิรตภัส  ,2556


ภาพที่ 8 :  บอร์ดแสดงผลงานรองเท้าหนังที่ได้ออกแบบของแต่ละประเภท
ที่่มา : นางสาว ชลธิชา อุปลี  ,2556


ภาพที่ 9 :  บอร์ดแสดงผลงานรองเท้าหนังที่ได้ออกแบบของแต่ละประเภท
ที่่มา : นางสาวสิริมณี แก้วลาน ,2556

           จากนั้นก็ทำการนำเสนองานเพื่อนำเสนองานที่เราได้ทำมาทั้งว่าทำรองเท้ารูปแบบใดและรูปแบบของการออกแบบนั้นคืออะไรโดยนำตัวอย่างงานมานำเสนอด้วย



วันอาทิตย์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ทำโครงงานกลุ่ม2

ตอนนี้อาจารย์ได้ให้ทำแนะนำเพื่อมาแก้ไขงานที่เราทำให้ดีมากขึ้น

โดยอาจารย์ให้แก้ไขดังนี้

1. ควรมีภาพสเก็ตในบอร์ดด้วย

2. ควรทำโมเดลของที่เราออกแบบมา

3. ทีแพ็ตเทิร์นของงาน

4. อย่างน้อยต้องมีถุงใส่เพื่อให้เห้นถึงงานกราฟิกที่เราออกแบบ


ภาพที่ 1 : ภาพบอร์ดแสดงผลงาน
ที่มา: นางสาว พันธกานต์ ตั้งวศินธรรม , 2556


               ซึ่งข้าพเจ้าได้มีแบบสเก็ตและแพ็ตเทิร์นแล้วแต่ยังไม่มีตัวโมเดลของงานเนื่องจากยังทำไม่เสร็จตอนนี้นำมาทำให้สมบรูณ์เรียบร้อยแล้วดังภาพที่ดังต่อไปนี้


ภาพที่ 1 : ภาพโมเดลที่ทำเสร็จแล้ว
ที่มา: นางสาว พันธกานต์ ตั้งวศินธรรม , 2556

               อุปกรณ์ในการทำโมเดลนั้นเน้นเป้นกระดาาอ่อนเนื่องจากตอนแรกทำด้วยกระดาษแข่งแล้วประสบปัญหาที่ตอนประกอบโมเดลนั้นลำบากและรูปทรงนั้นจัดยากจึงได้ใช้กระดาษธรรมดาในารทำโมเดลรองเท้าหนังขึ้นมา

               ซึ่งการทำโมเดลน้ันเราต้องศึกษาจากแพ็ตเทิร์นของรองเท้าของเราเสียก่อนไม่เช่นนั้นจะทำโมเดลออกมาผิดรูปร่างได้

              ถุงตอนนี้ได้ทำขึ้นมาแล้วแต่ยังไม่ทำเป็นโมเดลขึ้นมาจึงยังไม่มีรูปมาให้ได้เห็นกัน




               

วันจันทร์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ทำโครงงานกลุ่ม

ศึกษามาในการทำงานออกแบบรองเท้า ให้กับตำบล จรเข้เผือก
ขั้นแรกคือการ sketch แบบรองเท้าที่เราจะทำรองเท้าที่เราเลือกนั้นคือรองเท้า สไตร์ Oxford 
เป็นที่นิยมมากในหมู่วัยรุ่นในช่วยนี้เมืองจากลักษณ์ที่สวยและ



ภาพที่ 1 ภาพแบบ sketch รองเท้า  Oxford
ที่มา นางสาวพันธกานต์ ตั้งวศินธรรม ,2556

หลังจากที่่  sketch รองเท้า  Oxford เราก็ต้องมารุ้วิธีการทำรองเท้าว่าเขียนแบบอย่างไร
ก่อนจะมาเขียนแบบรองเท้าที่สามารถตัดได้


ภาพที่ 2 ภาพแบบ sketch รองเท้า  Oxford และโครงสร้างของรองเท้า
ที่มา นางสาวพันธกานต์ ตั้งวศินธรรม ,2556

จากภาพดังกล่าวก่อนจะมาเป็นแบบต้องทำแบบจากหุ่นรองเท้าก่อนซึ่งหุ่นรองเท้านั้นจะมีหลายขนาด
แล้วแต่คนทำจะเลือกนะค่ะ 


คลิปที่ 1 วิธีการทำรองเท้า



คลิปที่ 1 วิธีการทำรองเท้า

คลิปคือการสอนตั้งแต่การขึ้นโครงรองเท้าในแต่ละขั้นตอนค่ะ ซึงสามารถทำให้เราเข้าใจได้ว่าวิธีการ
ทำรองเท้านั้นเป็นงานทีใช้ฝีมือจริงๆ

ส่วนรวดลายนั้นเราสามารถเขียนเลือกลายได้ตามใจชอบเลยค่ะ

ภาพที่ 3 ภาพแบบรวดลาย รองเท้า  Oxford
ที่มา นางสาวพันธกานต์ ตั้งวศินธรรม ,2556

ลายรองเท้านั้นมีสองช่วงคือช่วงด้านหน้าละช่วงตัวรองเท้า และสามารถเลือกสีและหนัง
ในการทำรองเท้าได้


ภาพที่ 4 ภาพแบบสีและหนัง รองเท้า  Oxford
ที่มา นางสาวพันธกานต์ ตั้งวศินธรรม ,2556

ภาพที่ 5 ภาพแบบสีและหนัง รองเท้า  Oxford
ที่มา นางสาวพันธกานต์ ตั้งวศินธรรม ,2556




วันพฤหัสบดีที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ความคืบหน้าของการดำเนินงานกลุ่ม

             ความคืบหน้าของการดำเนินงานกลุ่ม เป็นงานสอบกลางภาคด้วยสำหรับงานครั้งนี้
งานนี้ในกลุ่มได้ทำงานออกแบบรองเท้าเพือไปนำเสนอให้กับอาจารย์ดู

สอบปฏิบัติกลางภาคเรียน การนำเสนอแนวทางการออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ใหม่

             ในการนำเสนอการออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ใหม่นั้นนักออกแบบต้องมีการกำหนดคุณลักษณะผลิตภัณฑ์ (Product Design Specification) โดยอาศัยข้อมูลจาก แหล่งข้อมูลต่างๆมาประกอบเช่น
1.1 ภาพรวมความต้องการของลูกค้า(Identify Customer needs)
1.2 ข้อมูลสรุปจากตัวชี้วัดและดัชนีการผลิต (Conduct Bench Marking)
1.3 การประเมินผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งขันทางการค้า(Evaluate Competitor’s Product)
1.4 การตั้งวัตถุประสงค์และเกณฑ์การออกแบบผลิตภัณฑ์(Establish and Approve Product Design Specifications):PDS ดังตัวอย่างเช่น ต้องรู้จักรายละเอียดของส่วนประกอบที่เกี่ยวข้องกับงานที่จะออกแบบที่จะผลิตได้จริงหรือมีต้องมีความรู้กับสิ่งที่ต้องออกแบบให้ถ่องแท้ก่อน จากนั้นจึงทำการร่างแบบ วาดแบบ เขียนแบบ บอกแนวคิดที่จะสร้างสรรค์สร้างเอกสารทั้งที่เป็นภาพและข้อความประกอบความเข้าใจให้ผู้ร่วมงานได้ศึกษา ให้เข้าใจแนวคิด วิธีคิด การวิเคราะห์ สังเคราะห์ โดยสื่อสารออกมาให้ได้มากที่สุด มีคุณภาพดีที่สุด และนักออกแบบยังต้องแสดงออกซึ่งทักษะทางฝีมือ ทักษะการใช้อุปกรณ์และเครื่องมือที่ตนเองถนัดที่สุดและทำได้ดีที่สุด เป็นต้น ซึ่งผลงานที่ได้ออกมาในขั้นตอนนี้ก็ได้แก่ Sketch Design Concept /Concept Render โดยอาจนำเสนอเป็นแผ่นภาพ แสดงแนวความคิดสร้างสรรค์ (Creative Ideas Moodboard) หรือตามที่อาจารย์สั่งให้ทำเป็นมู๊ดบอร์ดและจัดเก็บได้เป็นแบบดิจิตัล จัดเก็บได้ในระบบคอมพิวเตอร์ หรือเครื่อข่ายอินเตอร์เนตนั่นเอง

             จากเนื้อหาตัวอย่างที่ให้ศึกษานี้ อาจารย์มีการบ้านเป็นงานสอบกลางภาคเรียนแบบ Takehome คือให้สำหรับกลุ่มเรียน 101 และ 102 ภาคปกติ ให้นักศึกษาแต่ละคนทุกกลุ่มเรียนจัดทำ Moodboard ขนาด 50x70 cm 1 แผ่น โดยให้นำเสนอแนวคิดและแนวทางการออกแบบเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ใหม่ ในแนวทางที่แตกต่างกัน ให่แก่สินค้าหรือการบริการของผู้ประกอบการชุมชน ตามกลุ่มที่ได้นำเสนอการศึกษาข้อมูลขั้น ส.1 ไปแล้ว โดย กำหนดให้ส่งคือ กลุ่ม 101 และ 102 ส่งวันพฤหัสที่ 1 สิงหาคม 2556 ภายในเวลา 15.00 น.ส่งที่ห้องพักอาจารย์ ตึก 32 ส่วนกลุ่ม 201 ส่งภายในเวลา 19.00 น.


ถาพที่ 1 ภาพงานที่ทำ
ที่มา: นางสาว พันธกานต์ ตั้งวศินธรรม ,2556


ถาพที่ 2 ภาพงานที่ทำ
ที่มา: นางสาว พันธกานต์ ตั้งวศินธรรม ,2556

             แต่ตอนในตอนนี้ก็ยังอยุ่ในช่วงปรับปรุงแก้ไขเนื่องจากมีข้อผิดพลาดในการทำงานอยู่เนื่องจากยังไม่เข้าใจในงาน


โปรแกรม ออกแบบ บรรจุภัณฑ์แบบ 3 มิติ (Package Designer)


ภาพที่ 1 รูปแบบของ โปรแกรม ออกแบบ บรรจุภัณฑ์แบบ 3 มิติ (Package Designer)



โปรแกรม ออกแบบ บรรจุภัณฑ์แบบ 3 มิติ (Package Designer) : โปรแกรมออกแบบบรรจุภัณฑ์แบบ 3 มิติ (Package Designer) โปรแกรมนี้เกิดมาเพื่อโรงงานกล่องโดยเฉพาะเลยครับ มีความสามารถชนิดที่ว่าไม่แพ้ของต่างชาติเลยครับ ที่สำคัญเมนูการใช้งานทุกอย่างเป็นภาษาไทยและราคาที่ถูกกว่ามากครับ
โปรแกรมนี้ เป็นโปรแกรมที่มีความสามารถในการสร้างแผนผังกล่อง จากขนาดของสินค้าใดๆก็ตาม โดยมีรูปแบบของกล่องให้ใช้ 65 แบบหลักๆ เช่น กล่องฝาชน (RSC) กล่องฝาเกย(OSC) หรือกล่องไดคัทแบบพื้นฐาน (Die Cut) ซึ่งสามารถที่จะสร้างแบบพิมพ์หรือจำลองแบบกล่องให้ดูกันแบบยังไม่ได้ตัดกระดาษกันเลยครับ
โปรแกรมยังมีความสามารถในการออกแบบและคำนวณหาขนาดภายในรวมของสินค้าได้อีกด้วย โดยสามารถเลือกรูปแบบการจัดเรียง จำนวนต่อชั้น วัสดุที่ใช้คั่นได้ไม่จำกัด และสามารถกำหนดได้เองอีกด้วย



ภาพที่ 2 รูปแบบของ โปรแกรม ออกแบบ บรรจุภัณฑ์แบบ 3 มิติ (Package Designer)

Program Features (คุณสมบัติ และ ความสามารถของโปรแกรมนี้) : สำหรับคุณสมบัติต่างๆของส่วนออกแบบบรรจุภัณฑ์เป็นดังนี้
1. ทำงานที่ความละเอียดในการแสดงผลที่ 1024 x 768 pixel ทำให้ผู้ใช้งานสามารถเห็นข้อมูลการใช้งานได้มากขึ้น
2. ปรับรูปแบบของ Interface ใหม่ ทำให้ผู้ใช้งานสามารถใช้งานได้สะดวกมากขึ้น

3. เพิ่มตัวเลือกการตั้งค่าใช้งาน ทำให้สามารถออกแบบรายงาน และค่าต่างๆได้ตามที่ต้องการ

4. สามารถเลือกดูระหว่างมุมมองออกแบบ 3 มิติ และมุมมองแบบพับของบรรจุภัณฑ์

5. สามารถเลือกที่จะแสดงภาพสีหรือลายเส้นขาวดำ

6. สามารถปรับแต่งสีของบรรจุภัณฑ์ได้โดยอิสระ

7. สามารถเลือกที่จะซ่อนหรือแสดงเส้นกำกับขนาดในมุมมองแบบพับได้

8. สามารถเลือกจำนวนหลักของทศนิยมในการแสดงผลได้ตั้งแต่ 0-4 หลัก

9. สามารถย่อและขยายภาพได้

10. สามารถเลื่อนตำแหน่งของการแสดงผลได้

11. สามารถปรับผลลัพธ์ให้เป็นขนาดอย่างง่าย (โดยการปัดทศนิยมขึ้นเล็กน้อย)

12. สามารถสาธิตการทำงานดวยตัวเองได้

13. สามารถกำหนดหน่วยวัดได้โดยอิสระ

14. สามารถสำเนาภาพไปยังคลิปบอร์ดได้

15. สามารถบันทึกภาพการออกแบบและแผ่นพับเป็นแฟ้มรูปภาพได้